วันเสาร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2559

เฉลย วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) 
รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) 
รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
1.1 ปรากฎการณ์ที่เกิดจากโลกหมุนรอบตัวเอง
1.2 ปรากฏการณ์ที่เกิดจากโลกโคจรรอบดวงอาทิตย์
1.3 ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในระบบโลก ดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์
1.4 ดาวเคราะห์ในระบบสุริยะ
1.5 พัฒนาการของแบบจำลองระบบสุริยะ

บทที่ 2  ดวงดาวบนท้องฟ้า
2.1 การบอกตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า
2.2 กลุ่มดาว

บทที่ 3  เทคโนโลยีอวกาศ
3.1 กล้องโทรทรรศน์
3.2 ดาวเทียม และยานอวกาศ
3.3 การใช้ชีวิตในอวกาศ

บทที่ 4  ระบบนิเวศ
4.1 ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
4.2 การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
4.3 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ
4.4 วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
4.5 ความหลากหลายทางชีวภาพ
4.6 ประชากร

บทที่ 5  มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
5.1 ปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น
5.2 การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน

บทที่ 6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
6.1 ลักษณะทางพันธุกรรม
6.2 โครโมโซม ดีเอ็นเอ  และยีน
6.3 กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
6.4 ความผิดปกติทางพันธุกรรม
6.5 การใช้ประโยชน์จากความรู้ด้านพันธุศาสตร์
 

อ้างอิงจาก  คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 6 เล่ม 2 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) 
รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) 
รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาวิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
1.1 ผลของแรงลัพธ์ที่กระทำต่อวัตถุ
1.2 แรงกิริยาและแรงปฏิกิริยา
1.3 แรงพยุง
1.4 แรงเสียดทาน
1.5 โมเมนต์ของแรง

บทที่ 2  งานและพลังงาน
2.1 งาน
2.2 กำลัง
2.3 พลังงานกล
2.4 กฎการอนุรักษ์พลังงาน

บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
3.1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น
3.2 วงจรไฟฟ้าในบ้าน
3.3 พลังงานไฟฟ้าและกำลังไฟฟ้า
3.4 วงจรอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น
 

อ้างอิงจาก  คู่มือครู วิทยาศาสตร์ 5 เล่ม 1 ม.3 (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาสารและสมบัติของสาร สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

หมายเหตุ  สำหรับใครที่เปิดไม่ได้ แนะนำให้เปิดจาก Baidu Browser โดยใช้โปรแกรม ไบดู เป็นบราวเซอร์ในการเปิดค่ะ

          ดาวน์โหลด โปรแกรม Baidu Browser ได้ที่นี่ค่ะ 

          อ้างอิงจาก เว็บไซต์ baidu-browser.th.softonic.com

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
1.1 ชนิดของธาตุ
1.2 แนวโน้มความเป็นโลหะและอโลหะของธาตุในตารางธาตุ
1.3 ประโยชน์ของธาตุ
1.4 อะตอมและโครงสร้างอะตอม
1.4.1 อนุภาคมูลฐานของอะตอม
1.4.2 สัญลักษณ์นิวเคลียร์
1.4.3 การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
1.5 พันธะเคมี
1.5.1 พันธะโลหะ
1.5.2 พันธะไอออนิก
1.5.3 พันธะโคเวเลนต์
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 2  ปฏิกิริยาเคมี
2.1 การเกิดปฏิกิริยาเคมี
2.2 สมการเคมี
2.3 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2.4 สารเคมีในชีวิตประจำวัน
2.4.1 สารเคมีในการเกษตร
2.4.2 สารเคมีในอุตสาหกรรม
2.5 อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2.5.1 การวัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
2.5.2 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 3 สารชีวโมเลกุล
3.1 ไขมันและน้ำมัน
3.2 โปรตีน
3.3 คาร์โบไฮเดรต
3.3.1 มอนอแซ็กคาไรด์
3.3.2 ไดแซ็กคาไรด์
3.3.3 พอลิแซ็กคาไรด์
3.4 กรดนิวคลิอีก
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 4  ปิโตรเลียม
4.1 การเกิดและแหล่งปิโตรเลียม
4.2 การกลั่นน้ำมันดิบและผลิตภัณฑ์
4.3 การแยกแก็สธรรมชาติและผลิตภัณฑ์
4.4 เชื้อเพลิงในชีวิตประจำวัน
4.5 ผลของผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 5  พอลิเมอร์
5.1 พอลิเมอร์ธรรมชาติ และ พอลิเมอร์สังเคราะห์
5.2 การเกิดพอลิเมอร์
5.3 โครงสร้างพอลิเมอร์
5.4 ผลิตภัณฑ์จากพอลิเมอร์
5.4.1 พลาสติก
5.4.2 ยาง
5.4.3 เส้นใย
5.5 ผลที่เกิดจากการผลิตและการใช้พอลิเมอร์ต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เฉลยคำถามท้ายบท
  

อ้างอิงจาก  คู่มือครู สารและสมบัติของสาร (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1  พันธุกรรม
1.1 ลักษณะพันธุกรรม
1.2 โครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
1.2.1 การแบ่งเซลล์
1.2.2 สารพันธุกรรม
1.2.3 ยีนและการควบคุมลักษณะพันธุกรรม
1.3 การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
1.3.1 พันธุกรรมของหมู่เลือด ABO
1.3.2 ลักษณะพันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนบนโครโมโซมเพศ
1.4 วิวัฒนาการ
1.4.1 การแปรผันทางพันธุกรรม
1.4.2 การคัดเลือกตามธรรมชาติ
1.4.3 การปรับปรุงพันธุ์โดยมนุษย์
1.5 เทคโนโลยีชีวภาพ
1.5.1 พันธุวิศวกรรม
1.5.2 การโคลน
1.5.3 การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอ
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 2  สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
2.1 ระบบนิเวศ
2.1.1 ชีวนิเวศระดับโลก
2.1.2 ชีวนิเวศระดับท้องถิ่น
2.2 ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบในระบบนิเวศ
2.3 วัฏจักรของสารในระบบนิเวศ
2.4 การเปลี่ยนแปลงแทนที่
2.5 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2.5.1 ทรัพยากรธรรมชาติ
2.5.2 มนุษย์กับทรัพยากรธรรมชาติ
2.5.3 มลภาวะ
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 3  ความหลากหลายทางชีวภาพ
3.1 ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
3.2 ความหลากหลายของสปีชีส์
เฉลยคำถามท้ายบท
 

อ้างอิงจาก  คู่มือครู พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย พลังงาน (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย พลังงาน (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาพลังงาน สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย พลังงาน (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู พลังงาน (สสวท.) รายวิชาพื้นฐานได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1 คลื่นกล
1.1 ชนิดของคลื่นกล
1.2 ปริมาณที่เกี่ยวกับคลื่น
1.3 อัตราเร็วของคลื่น
1.4 การรวมคลื่น
1.5 สมบัติของคลื่น
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 2  เสียง
2.1 การเคลื่อนที่ของเคลื่นเสียง 
2.2 อัตราเร็วของเสียง
2.3 ความถี่ของคลื่นเสียง
2.4 ลักษณะทางกายภาพของคลื่นเสียง
2.5 การเกิดบีตส์
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 3  คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็ก
3.2 การเกิดคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
3.3 สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เฉลยคำถามท้ายบท
  

อ้างอิงจาก  คู่มือครู พลังงาน (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1  อยู่ดีมีสุข
1.1 เซลล์และองค์ประกอบสำคัญของเซลล์
1.2 การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
1.2.1 การแพร่
1.2.2 การออสโมซีส
1.2.3 การแพร่แบบฟาซิลิเทต
1.2.4 การลำเลียงสารโดยใช้พลังงาน
1.2.5 การลำเลียงสารขนาดใหญ่
1.3 กลไกการรักษาดุลยภาพ
1.3.1 การรักษาดุลยภาพของน้ำในพืช
1.3.2 การรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุในสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
1.3.3 การรักษาดุลภาพของน้ำและแร่ธาตุในสัตว์ต่างๆ
1.3.4 การรักษาดุลภาพของน้ำและแร่ธาตุในร่างกายคน
1.3.5 การรักษาดุลภาพของกรด-เบส ในร่างกายคน
1.3.6 การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิในร่างกาย
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 2 อยู่อย่างปลอดภัย
2.1 การป้องกันและกำจัดเชื้อโรคของร่างกาย
2.1.1 ด่านแรก : ผิวหนัง
2.1.2 ด่านที่สอง : แนวป้องกันโดยทั่วไป
2.1.3 ด่านที่สาม : ระบบภูมิคุ้มกัน
2.2 การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันโรคให้กับร่างกาย
2.3 ความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกัน
เฉลยคำถามท้ายบท
  

อ้างอิงจาก  คู่มือครู ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

เฉลย+คู่มือครู ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน

เฉลย ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
คู่มือครู ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
อ้างอิงจาก
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ

          การอ้างอิงนี้  ได้อ้างอิงจากเว็บคลังความรู้ scimath โดยคุณครูที่สอนวิชาดวงดาวและโลกของเรา สามารถศึกษาจากคู่มือครูในเว็บดังกล่าวนี้ได้ค่ะ  โดยภายในคู่มือครูจะมีทั้งจุดประสงค์การเรียนรู้  แนวความคิดหลัก และเฉลยคำถามท้ายบท ค่ะ

ดาวโหลด เฉลย ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน + คู่มือครู ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน ได้ที่นี่ค่ะ

          โดยจำแนกแต่ละบทดังนี้นะคะ  ซึ่งท่านสามารถศึกษาแต่ละเรื่องได้ตามที่เขียนเลขหน้าไว้ด้านล่างค่ะ

บทที่ 1  กำเนินดเอกภพ
1.1 กำเนิดอนุภาคในเอกภพ
1.2 หลักฐานที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง
1.3 กาแล็กซี
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 2  ดาวฤกษ์
ความส่องสว่างและโชติมาตรของดาวฤกษ์
2.2 ระยะห่างของดาวฤกษ์
2.3 สี อุณหภูมิผิวและสเปกตรัมของดาวฤกษ์
2.4 วิวัฒนาการของดาวฤกษ์
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 3 ระบบสุริยะ
3.1 กำเนิดดวงอาทิตย์และบริวาร
3.2 องค์ประกอบของระบบสุริยะ
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 4  เทคโนโลยอวกาศ
4.1 การส่งและการโคจรของดาวเทียม
4.2 การใช้ประโยชน์จากดาวเทียม
4.3 สถานีอวกาศและยานอวกาศ
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 5  โครงสร้างโลก
5.1 การศึกษาโครงสร้างโลกโดยใช้คลื่นไหวสะเทือน
5.2 ลักษณะโครงสร้างโลกแต่ละชั้น
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 6  การแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
6.1 ทฤษฎีทวีปเลื่อน
6.2 ทฤษฎีการแผ่ขยายพื้นสมุทร
6.3 ทฤษฎีการแปรสัณฐานของแผ่นธรณี
6.4 การเคลื่อนที่ลักษณะต่างๆ ของแผ่นธรณี
6.4.1 แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน
6.4.2 แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน
6.4.3 แผ่นธรณีเคลื่อนที่เฉือนกัน
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 7  แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
7.1 แผ่นดินไหว
7.2 ภูเขาไฟระเบิด
7.3 ตำแหน่งแผ่นดินไหวและภูเขาไฟบนโลก
เฉลยคำถามท้ายบท

บทที่ 8  ธรณีประวัติ
8.1 อายุทางธรณีวิทยา
8.2 ซากดึกดำบรรพ์
8.3 โครงสร้างทางธรณีวิทยา
8.4 การอธิบายประวัติทางธรณีวิทยาของพื้นที่
เฉลยคำถามท้ายบท
  

อ้างอิงจาก  คู่มือครู ดวงดาวและโลกของเรา (สสวท.) รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี